ใบงานที่ 1


ใบงานที่ 1

ความหมายและคุณค่าของโครงงาน

ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ลงในความคิดเห็นด้านล่าง โดย ระบุชื่อ นามสกุล เลขที่และห้องให้เรียบร้อย

1. จงบอกความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
2. นักเรียนคิดว่าการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ จะได้ประโยชน์อย่างไร 
3. นักเรียนใช้หลักเกณฑ์อะไรบ้าง ในการเลือกทำโครงงาน จงเขียนเป็นข้อ ๆ เรียงตามลำดับความสำคัญ

About ครูเต้

ครูคอมพิวเตอร์ โรงเรียนนามนพิทยาคม

Posted on กรกฎาคม 8, 2014, in โครงงานคอมพิวเตอร์ ม.6. Bookmark the permalink. 45 ความเห็น.

  1. นางสาว ณัฐกานต์ โป๊ะตะคาร

    1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เป็นกิจกรรมที่อิสระ เราสามารถเลือกได้ว่าเราจะค้นคว้า หรือศึกษาเกี่ยวกับเรื่องอะไรก็ได้ ศึกษาด้วยตัวเอง และมีครูที่คอยให้คำแนะนำแก่เรา
    2. มีประโยชน์ที่เราสามารถศึกษาเรียนรู้ และพบปัญหา รู้จักแก้ไขปํญหาเอง
    มีความสามัคคีต่อกัน และยังให้ความรู้กับผู้อื่นได้
    3.มีหลักดังนี้
    3.1 เลือกหัวข้อที่สนใจของทำโครงงาน
    3.2 รวบรวมเอกสารหรือความรู้ก่อนจัดทำ
    3.3 ลงมือดำเนินการ
    3.4 คัดเลือกและแก้ไขงาน
    3.5 รายงานและนำเสนอ

  2. สิทธิพงษ์ ชูกระโทก ชั้น ม.6/2

    สิทธิพงษ์ ชูกระโทก เล่ขที่ 7 ชั้นม.6/2
    1. กิจกรรมอิสระที่ผู้เรียนสามารถเลือกศึกษาตามความสนใจ โดยใช้ทักษะประสปการณ์ ด้านคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยผู้เรียนจะต้องวางแผนดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกมหรืออุปกรณ์ที่เกี่นวข้อง
    2. การทำโครงงานคอมพิวเตอร์และการจัดงานแสดงโครงงานจะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรู้ ความชำนาญ และมีความมั่นใจในการนำระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองและยังมีคุณค่าอื่น ๆ อีกดังต่อไปนี้
    2.1 สร้างความสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
    2.3 เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ
    2.4 ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
    2.5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
    2.6 ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
    2.7 สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
    2.8 เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทำผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นโครงงานเพื่อนำเสนอต่อชุมชน
    การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น นักเรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะเริ่มทำโครงงาน และใช้ความรู้ดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ใหม่ในโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยในการทำโครงงานนักเรียนอาจจะมีโอกาสได้ทำความรู้จักกับความรู้ใหม่เพิ่มเติมอีกด้วย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ฐานข้อมูล (Database) และการสืบค้นข้อมูล (Information Retrieval) เป็นต้น ซึ่งจะขึ้นอยู่กับหัวข้อที่นักเรียนเลือกทำโครงงาน
    3. 3.1 คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    3.2 ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3.3 จัดทำเค้าโครงของโครงงาน
    3.4 การลงมือทำโครงงาน
    3.5 การเขียนรายงาน
    3.6 การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  3. นางสาว ภูริสา จอมคำสิงห์

    (1).ตอบ โครงงานคอมพิวเตอรืเป็นกิจกรรมการเรียนที่มีอิสระในการเลือกศึกษาที่ตนสนใจ
    (2).ตอบ 1 ผุ้เรียนรู้จักสื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข่าวสาร
    2 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชนืสูงสุด
    3 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆ
    4 ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื้นได้เป็นอย่างดี
    5 สามารถบริหารเวลาวางให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื้น
    6 สามารถนำคาวมรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้
    (3). ตอบ 1 เลือกหัวข้อที่สนใจของการทำโครงงาน
    2 รวบรวมเอกสารหรือความรุ้ก่อนการจัดทำ
    3 ลงมือดำเนินการ
    4 คัดเลือกและแก้ไขงาน
    5 รายงานและนำเสนอ

  4. ธันยบูรณ์ ทับธานี ชั้นม6/2

    1.กิจกรรมอิสระที่ผู้เรียนสามารถตามความสนใจโดยใช้ทักษะคอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาต่างๆโดยผู้เรียนจะต้องดำเนินงานศึกษาพัฒนาโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง
    2เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง และให้คำปรึกษาแก่ครู ตั้งแต่การคิดโครงงาน การวางแผน าน ประเมินผล 3การนำเสนอและแสดงโครงงาน การจัดทำเค้าโครวงาน ขัดเลือกหัวข้อตามความสนใจ ศึกษาตามแหล่งข้อมูล

  5. น.ส.ชุติมา มาตพงษ์ ชั้น ม.6/2

    1.โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัยหาที่ตนสนใจโดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงานศึกษาพัฒนาโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องโดยใช้ความรู้กระบวนการวิสวกรรมของซอฟต์แวร์เครื่องคอมพิวเตอร์หรือวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน
    2. 1.ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร์ข่าวสารความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้ใช้ประโยชน์
    2.สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3.ส่งเสริมให้เรียนรู้ได้มีความรู้ใหม่ๆในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์สามารถนำไปใช้ในอนาคตของผู้เรียนได้
    4.ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดีมีความสามัคคีในระบบกลุ่มมากขึ้น
    5.สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและแก่ผู้อื่น
    6.สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้
    3. 1.เลือกหัวข้อโครงงานที่เราสนใจจะทำ
    2.วางแผนโครงงาน และเริ่มศึกษาโครงงานเรื่องที่เราได้ เก็บรวบรวมเอกสารและความรู้เรื่องที่เราได้ ก่อนลงมือทำ
    3.ลงมือดำเนินงาน
    4.ปรึกษาครู และคัดเลือกและแก้ไขงาน
    5.รายงานและนำเสนอผลงาน

  6. น.ส อุนิสา เขจรเฟื้อง เลขที่ 12 ม.6/2

    1) โครงคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจโดยต้องมีการวางแผนดำเนินงานศึกษาพัฒนาโปรแกรม
    2) 1.ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข่าวสารให้แกผู้อื่นได้
    2.สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3.ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ใหม่ๆในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกสื
    4.ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความสามัคคีในกลุ่มมากขึ้น
    5.สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แกตนเองและผู้อื่น
    6.สามารถนำความรู้ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้
    3)มีหลักดังนี้
    3.1 เลือกหัวข้อในการทำโครงงาน
    3.2 รวบรวมเอกสารและความรู้ก่อนการจัดทำ
    3.3 ลงมือดำเนินงาน
    3.4 คัดเลือกและแก้ไขงาน
    3.5 รายงานและนำเสนอ

  7. 1 ตอบ โครงงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง กจิกรรมการเรียนทีนักเรียนมีอีสระในการเลือกศึกษาปัญหาทีตนสนใจโดนจะต้องวางเเผนการดำเนินงาน
    2 ตอบ สร้างความสำนึกเเละความรับผิดชอบในการศึกษาเเละพัฒนาระบบด้วยตนเอง เปิดโอกกาลให้นักเรียนได้พัฒนาเเสดงความสามารถตามศักยภาพ
    3 ตอบ 1 เลือกหัวข้อโครงานที่สนใจ
    2 ศึกษาค้นคร้าจากเอกสาร
    3 จัดทำ เค้าโครงงาน
    4 ลงมือทำโครงงาน
    5 การเขียนรายงาน
    6 การนำเสนอเเละเเสดงโครงาน

  8. ชื่อ นาย สรรประสิทธิ์ สุวิเศษ ชั้น ม6/2

    1 ตอบ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม
    2ตอบ ทำให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำงาน ประสานงาน และติดต่อกับหน่วยงานต่าง ๆ พร้อมทั้งมีการวางแผนการทำงานทำให้กล้าคิด กล้าแสดงออก ต่อที่ประชุมชนมากขึ้ทำให้รู้จักหน้าที่ และมีความรับผิดชอบมากขึ้น
    3ตอบ คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล

  9. นางสาว บุศราภรณ์ แสงสุวรรณ์ ม๖/๒ เลขที่๑๑

    1.ตอบ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรือุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง

    2.ตอบ 1.ผู้เรียน รู้จักใช้คอมพิวเตอร์เผยแพร่ข่าวสาร 2.สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ 3.ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆ 4.ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี 5.สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น 6.สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้

    3.ตอบ ๑เลือกหัวข้อที่จะทำ ๒เก็บรวบรวมข้อมูล ๓วางแผนงาน ๔ลงมือปฏิบัติ ๕ตรวจสอบและแก้ไขงาน ๖นำเสนองาน

  10. นางสาว พรพรรณ ทวีชัย ชั้น ม.6/2

    1.โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนรู้มีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงาน พัฒนาโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้ กระบวนการวิศวกรรมซอฟแวร์ เครื่องอุปกรณ์คอมพวเตอร์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงน
    2. 1.ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยเเพร่ข่าวสาร ความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆ ได้ใช้ประโยชน์
    2. สามารรใช้คอมพิวเตอร์ให้เดิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3. สามารถบอริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
    4. สามารถนำความรู้ที่ด้รับไปพัฒนาต่อยอดได้
    3. 3.1 คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    3.2 ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3.3 จัดทำเค้าโครงของโครงงาน
    3.4 การลงมือทำโครงงาน
    3.5 การเขียนรายงาน
    3.6 การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  11. นาย คมสันต์ สีดาหัส

    ตอบ1 การใช้คอมพิวเตอร์เเละอุปกรณ์อื่นๆ ในการคึกษาทดลองเเก้ปัญหาต่างๆเพื่อนำผลงานที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริง หรือเพื่อใช้สร้างสื่อเสริมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
    ตอบ2 ให้ได้ทำโครงงานที่เราต้องการจะทำ เเละงานนั้นสามารถออกมาสมบูรณ์เพราะเป็นโครงงานที่ผู้เรียนสนใจที่จะทำ
    ตอบ3 1คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    2คึกษาค้นคว้าจากเอกสารเเละเเหล่งข้อมูล
    3จัดทำเค้าโครงของโครงงาน
    4การลงมือทำโครงงาน
    5การเขียนรายงาน
    6การนำเสนอเเละเเสดงโครงงาน

  12. นางสาว ปริชญา อ่ำมากลาภ

    1.กิจกรรมที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจโดยจะต้องวางแผนการทำงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
    ตลอดจนทักษะพื้นฐาน ในการพัฒนาโครงงาน
    2.รู้จักใช้คอมพิวเตอร์ เผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆ ได้ใช้ประโยชน์ สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้ได้มีความรู้ใหม่ๆ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี บริหารเวลาว่างใหเกิดประดยชน์ และนำความรู้ไปพัฒนาและต่อยอดได้
    3. 1. คัดเลือกหัวข้อดครงงานที่สนใจ
    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3. จัดทำเค้าโครงของโครงงาน
    4. การลงมือทำโครงงาน
    5. การเขียนรายงาน
    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  13. นางสาว ธวิพร จิตชื่น 6/2 เลขที่19

    1.หมายถึงกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนสามารถเลือกเรียนได้อยากอิสระในการศึกษาที่ตนเองสนจัยโดยจะต้องมีการวางแผน และพัฒนาโปรแกม
    2.คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเรียนและช่วยพัฒนาการศึกษาและเผยแพ่งข่าวสารความรู้ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆ
    3.1คัดเลือกหัวข้อโคงงานที่สนใจ
    2ศึกษาค้นค้วาจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3จัดทำเค้าโคงของโคงงาน
    4การลงมือทำโคงงาน
    5การเขียนรายงาน
    6การนำเสนอและแสดงโคงงาน

  14. นาย ยุทธพิชัย กองเพ็ชร

    ตอบ 1โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจโดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงานศึกษาพัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้กระบวนการวิศกรรมซอฟแวร์เครื่องคอมพิวเตอร์หรือวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน
    ตอบ2 1ผู้เรียนรู้จักใช้สือสารคอมพิวเตอร์เผยแผร่ข่าวสารความรู้แก่บุคคลอื้นได้ใช้ประโยชน
    2สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชนสูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ความรู้ใหม่ในการสือสารอิเล็กทรอนิก
    4ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้ได้ดี
    5สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน
    6สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้
    3
    1 เลือกหัวข้อที่สนใจของการทำโครงงาน
    2 รวบรวมเอกสารหรือความรุ้ก่อนการจัดทำ
    3 ลงมือดำเนินการ
    4 คัดเลือกและแก้ไขงาน
    5 รายงานและนำเสนอ

  15. นางสาว โยธกา โติอำพร ม.6/2

    1) .หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจโดยจะต้องวางแผนการดำาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใข้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาประเภทของโครงงาน
    2.) 1. ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้ใช้ประโชน์
    2. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3. ให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆในการสร้างสื่ออิเล็คทรอนิกส์ สามารถนำไปใช้ในอนาคตของผู้เรียนได้
    4. ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความสามัคคีในระบบกลุ่มมากขึ้น
    5. สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและแก่ผู้อื่น 6.สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้
    3) 1 คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    2 ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3 จัดทำเค้าโครงของโครงงาน
    4 การลงมือทำโครงงาน
    5 การเขียนรายงาน
    .6 การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  16. นาย วีรยุทธ นาทองลาย

    คำตอบข้อ1ๅ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมเรียนมีอิสระโดยการเลือกศึกษาที่ตนสนใจ
    คำตอบข้อ2 ผู้เรียนรู้ใช้สื่อสารคอมพิวเตอร์แพร่ขาวสารความรู้ให้แก่ผู้อื่นได้ใช้ประโยชน์
    คำตอบข้อ3 1คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    2สร้างความสำนึกและรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    3จัดทำเข้าโครงงาน
    4ลงมือทำโครงงาน
    5การเขียนรายงาน
    6การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  17. นาย อรรถพล ดอนกระจ่าง

    คำตอบข้อที่ๅ กิจกรรมที่นักเรียนมีอิสระในการวางแผนการดำเนินงานและศึกษาพัฒนาโปรแกรม
    คำตอบข้อที่3สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างมีประสิทธภาพ
    คำตอบข้อที่3 1เลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    2ศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร
    3จัดทำเข้าโครงงาน
    4ลงมือทำโครงงาน
    5การเขียนรายงาน
    6การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  18. นางสาว เพชรชนก สืบเคน ม.6/2

    1 เป็นกิจกรรมอิสระในการเลือกศึกษา จะต้องวางแผนดำเนินงาน และพัฒนาโปรเเกรม
    2 ตอบ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเรียนและพัฒนาการศึกษาและเผยเเผร่ข่าวสารส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆ
    3 ตอบ 1 การเลือกหัวข้อ 2 การวางแผน 3 การลงมือทำโครงงาน

  19. นาย อภิเดช จันมนตรี ชั้น ม.6/2

    1.โครงงานคอมพิวเตอร์ เป็นกิจกรรมมีอิสะระในการศึกษาปัญหาที่ตน
    สนใจในนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษาพัฒนาโปรแกรม
    หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องโดยใช้ควมรู้ กระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์
    2.สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้และมีประสิทธิภาพ
    มีความรู้ใหม่ในการสร้างสืออิเล็กทรอนิกส์
    3
    1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3. จัดทำเค้าโครงของโครงงาน
    4. การลงมือทำโครงงาน
    5. การเขียนรายงาน
    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  20. นางสาวยุวดี พาภักดี 6/2

    1) .หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจโดยจะต้องวางแผนการดำาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใข้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาประเภทของโครงงาน
    2.) 1. ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้ใช้ประโชน์
    2. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3. ให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆในการสร้างสื่ออิเล็คทรอนิกส์ สามารถนำไปใช้ในอนาคตของผู้เรียนได้
    4. ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความสามัคคีในระบบกลุ่มมากขึ้น
    5. สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและแก่ผู้อื่น 6.สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้
    3) 1 คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    2 ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3 จัดทำเค้าโครงของโครงงาน
    4 การลงมือทำโครงงาน
    5 การเขียนรายงาน
    .6 การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  21. จิระประภา คำแสน ชั้น6/1 เลขที่12

    1.) ตอบ โครงงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง เป็นงานวิจัยในระดับนักเรียน เป็นการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ที่มีอยู่ในการศึกษา ทดลอง แก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อนำผลที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริง หรือใช้เพื่อช่วยสร้างสื่อเพื่อเสริมการเรียนให้ได้ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โครงงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกฝนการใช้ทักษะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ พร้อมทั้งเครื่องมือต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา รวมทั้งการพัฒนาการสร้างผลงานจริงอีกด้วย

    2.)ตอบ ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำโครงงาน
    1. ทำให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำงาน ประสานงาน และติดต่อกับหน่วยงานต่าง ๆ พร้อมทั้งมีการวางแผนการทำงาน
    2. ทำให้กล้าคิด กล้าแสดงออก ต่อที่ประชุมชนมากขึ้น
    3. ทำให้รู้จักหน้าที่ และมีความรับผิดชอบมากขึ้น
    4. ทำให้รู้จักการทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ
    5. ทำให้รู้จักการเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี
    6. ทำให้เกิดการพัฒนาความคิด และรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
    7. ทำให้รู้จักการแบ่งเวลา และการตรงต่อเวลา
    8. ทำให้รู้จักการแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
    9. ทำให้รู้วิธีการทำงานต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการทำงาน
    10. ทำให้เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของการเรียนวิชามนุษย์กับหลักจริยศาสตร์ เพื่อคุณภาพชีวิต

    3.)ตอบ หลักเกณฑ์ในการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
    1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3. จัดทำ เค้าโครงของโครงงาน
    4. การลงมือทำโครงงาน
    5. การเขียนรายงาน
    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  22. 1. ตอบ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้ กระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทำโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้

    2. ตอบ เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ผู้เรียนรู้จักใช้สือสารคอมพิวเตอร์เผยแผร่ข่าวสารความรู้แก่บุคคลอื้นได้ใช้ประโยชน
    สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชนสูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ความรู้ใหม่ในการสือสารอิเล็กทรอนิก
    ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้ได้ดี สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้

    3. ตอบ
    1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3. จัดทำ เค้าโครงของโครงงาน
    4. การลงมือทำโครงงาน
    5. การเขียนรายงาน
    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  23. นางสาว วิภา บัวชาญ

    ข้อ1) โครงงานคอมพิวเตอร์หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่นๆ ในการศึกษาทดลองแก้ปัญหาต่างๆ เพื่อนำผลงานที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริง หรือเพื่อใช้สร้างสื่อเสริมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นโครงงานคอมพิวเตอร์มีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้ผู้เรียนมีความรู้ความชำนาญ และมีทักษะในการนำระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ

    ข้อ2)การทำโครงงานคอมพิวเตอร์และการจัดงานแสดงโครงงานจะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรู้ ความชำนาญ และมีความมั่นใจในการนำระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองและยังมีคุณค่าอื่น ๆ อีกดังต่อไปนี้
    1. สร้างความสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
    3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ
    4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
    5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
    6. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
    7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
    8. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทำผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นโครงงานเพื่อนำเสนอต่อชุมชน
    การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น นักเรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะเริ่มทำโครงงาน และใช้ความรู้ดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ใหม่ในโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยในการทำโครงงานนักเรียนอาจจะมีโอกาสได้ทำความรู้จักกับความรู้ใหม่เพิ่มเติมอีกด้วย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ฐานข้อมูล (Database) และการสืบค้นข้อมูล (Information Retrieval) เป็นต้น ซึ่งจะขึ้นอยู่กับหัวข้อที่นักเรียนเลือกทำโครงงาน

    ข้อ3)1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ

    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล

    3. จัดทำ เค้าโครงของโครงงาน

    4. การลงมือทำโครงงาน

    5. การเขียนรายงาน

    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  24. นางสาวสุพรรษา ดอนประทุม 6/1เลขที่19

    1.ตอบ โครงงานคอมพิวเตอร์
    หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเีรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทำโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสำคัญของการทำโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

    2.ตอบ การทำโครงงานคอมพิวเตอร์และการจัดงานแสดงโครงงานจะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรู้ ความชำนาญ และมีความมั่นใจในการนำระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองและยังมีคุณค่าอื่น ๆ อีกดังต่อไปนี้
    1. สร้างความสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
    3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ
    4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
    5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
    6. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
    7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
    8. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทำผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นโครงงานเพื่อนำเสนอต่อชุมชน
    การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น นักเรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะเริ่มทำโครงงาน และใช้ความรู้ดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ใหม่ในโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยในการทำโครงงานนักเรียนอาจจะมีโอกาสได้ทำความรู้จักกับความรู้ใหม่เพิ่มเติมอีกด้วย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ฐานข้อมูล (Database) และการสืบค้นข้อมูล (Information Retrieval) เป็นต้น ซึ่งจะขึ้นอยู่กับหัวข้อที่นักเรียนเลือกทำโครงงาน

    3.ตอบ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนำมาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน
    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิจะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดา เนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม
    3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
    4. การลงมือทำโครงงาน
    เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นขอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทำโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
    5. การเขียนรายงาน
    การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดา เนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงาน นักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ
    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน
    การนำเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สำคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทำโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทำงานที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเทและเป็นวิธีทำให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้นการเสนอผลงานอาจทำได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคำพูดในที่ประชุมการจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคำพูด เป็นต้น

  25. นางสาวพิมพ์วิลัย ต้องสู้

    1.การศึกษาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีขึ้น เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในวิทยาการคอมพิวเตอร์ และมีความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมได้ การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์จะเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้เรียน สามารถบรรลุเป้าหมายนี้ได้อย่างสมบูรณ์
    2.1สร้างความสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
    2.3 เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ
    2.4 ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
    2.5 กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
    2.6 ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์

    3.1 สำรวจความถนัด ความพร้อมและความสนใจ

    3.2 สำรวจสิ่งอำนวยความสะดวก

    3.3 สังเกตสภาพแวดล้อม

  26. ธิดารัตน์ แจ่มปรีชา 6/1

    1. หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม ตลอดจนพื้นฐานในการพัฒนาผลงาน เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ
    2.)
    1. สร้างความสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
    3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ
    4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
    5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
    6. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
    7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
    8. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทำผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นโครงงานเพื่อนำเสนอต่อชุมชน
    3.)
    1 เลือกหัวข้อที่สนใจของการทำโครงงาน
    2 รวบรวมเอกสารหรือความรุ้ก่อนการจัดทำ
    3 ลงมือดำเนินการ
    4 คัดเลือกและแก้ไขงาน
    5 รายงานและนำเสนอ

  27. น.ส.สุดารัตน์ แสงพิศาล

    ข้อ1)ร์เป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้ กระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทำโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสำคัญของการทำโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

    ข้อ2)1. ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้ใช้ประโชน์
    2. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆในการสร้างสื่ออิเล็คทรอนิกส์ สามารถนำไปใช้ในอนาคตของผู้เรียนได้
    4. ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความสามัคคีในระบบกลุ่มมากขึ้น
    5. สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและแก่ผู้อื่น 6.สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้

    ข้อ3)3.1 การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
    หัวข้อ ส่วนใหญ่ที่นำมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ การสังเหตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว
    ปัญหาที่จะนำ มาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์นั้นได้จากแหล่งที่ต่างกัน ได้แก่ การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ ข้อมูลข่าวสารจากอินเทอร์เน็ต รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับ บุคคลอื่นๆ กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน งานอดิเรกของนักเรียน การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
    องค์ประกอบสำคัญในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนำมาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
    มีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
    สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
    มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้า หรือขอคำปรึกษา
    มีเวลาเพียงพอ
    มีงบประมาณเพียงพอ
    มีความปลอดภัย

    3.2 การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    การศึกษาค้นคว้าเอกสารและแหล่งข้อมูล รวมถึงการขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิจะช่วยให้เกิดแนวคิดในการกำหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้นและได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษา จนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำเนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม
    ในการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูลจะต้องได้คำตอบว่า จะทำอะไร ทำไมต้องทำ ต้องการให้เกิดอะไร ทำอย่างไร ใช้ทรัพยากรอะไร ทำกับใคร และจะเสนอผลงานอย่างไร

    3.3 การจัดทำข้อเสนอโครงงาน
    การจัดทำข้อเสนอโครงงานเป็นการจัดทำเค้าโครงของโครงงานเพื่อเสนอครูที่ปรึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้

    1. ศึกษาค้นค้วาเอกสารอ้างอิง และรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ

    2. วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกำหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงานที่จะพัฒนา

    3. ออกแบบการพัฒนา มีการกำหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษาโปรแกรม และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต้องใช้

    4. กำหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทำเค้าโครงของโครงงาน ลงมือทำโครงงาน และสรุปรายงานโครงงาน โดยกำหนดช่วงเวลาอย่างกว้าง

    5. ทำการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทำการพัฒนาส่วนย่อยๆ บางส่วน ตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว นำผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น

    6. เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่อครูที่ปรึกษา เพื่อขอคำแนะนำและปรับปรุงแก้ไขเพราะในการวางแผนการศึกษาพัฒนา ความคิดของนักเรียนอาจยังไม่ครบคลุมทุกด้าน เนื่องจากยังขาดประสบการณ์ จึงควรถ่ายทอดความคิดที่ได้ศึกษาและบันทึกไว้ให้ครูทราบเพื่อรับคำแนะนำ และนำไปปรับใช้ให้เกิดความเหมาะสม

    องค์ประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์
    ชื่อโครงงาน ต้องสื่อว่าทำอะไรกับใคร เพื่ออะไร เช่นโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
    ชื่อผู้จัดทำ ระบุถึงผู้รับผิดชอบโครงงานอาจเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคลก็ได้
    ครูที่ปรึกษา ระบุชื่อสกุล ของครูผู้ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาควบคุมการทำโครงงานของนักเรียน
    ระยะเวลาดำเนินงาน ให้ระบุเวลาตั้งแต่เริ่มทำโดยใช้ซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบริหารจัดการเพื่อใช้วางแผนควบคุมการทำงาน
    แนวคิด ที่มา อธิบายถึงสาเหตุที่เลือกทำโครงงาน กล่าวถึงความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล
    วัตถุประสงค์ ระบุสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานนี้ในเชิงกระบวนการและผลลัพธ์ที่ได้
    หลักการทฤษฏี อธิบายหลักการและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง ที่นำมาใช้ในโครงงาน
    วิธีดำเนินงาน กล่าวถึงกิจกรรมหรือขั้นตอนการดำเนินงาน
    ขั้นตอนปฏิบัติ กล่าวถึงวันเวลาและการดำเนินกิจการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น
    ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระบุถึงสภาพของผลที่ต้องารให้เกิด รวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น
    เอกสารอ้างอิง ระบุชื่อเอกสารข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นำมาใช้ในการดำเนินการ

    3.4 การพัฒนาโครงงาน
    เมื่อเค้าโครงงานของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากครูที่ปรึกษาแล้ว ขั้นตอนต่อไปนี้จึงเป็นการลงมือพัฒนาโครงงานตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ เช่น จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม รวมทั้งการกำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบ ของสมาชิกในกลุ่มให้ชัดเจน แล้วจึงดำเนินการทำโครงงาน ขณะเดียวกันต้องมีการทดสอบ ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาโครงงานเป็นระยะๆ เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นนั้น ทำงานำด้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และเกิดประสิทธิภาพตามขั้นตอน ดังนี้

    การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมและควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์สำหรับบันทึกการทำกิจกรรมต่างๆ ระหว่างทำโครงงาน ได้แก่ การดำเนินการเป็นอย่างไรได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
    การลงมือพัฒนา เป็นการปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ หากพบว่าจะช่วยทำให้ผลงานพัฒนาได้ดีขึ้น โดยจัดระบบการทำงานโดยทำส่วนที่เป็นหลักสำคัญให้เสร็จก่อน จึงค่อยทำส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริม เพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทำให้ตกลงรายละเอียดในการเชื่อมต่อชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย รวมทั้งต้องพัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ บันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบและครบถ้วน
    การทดสอบผลงานและแก้ไข เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น ทำงานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และมีประสิทธิภาพ
    การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทำสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดครอบคลุมหัวข้อโครงงาน เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทำโครงงานและทำการอภิปรายผล เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนำไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฏี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนำหลักการ ทฤษฏี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้
    แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทำโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้วนักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สำคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะ สำหรับผู้สนใจจะนำไปพัฒนาผลงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

    3.5 การเขียนรายงานโครงงาน
    การเขียนรายงาน เป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น โดยในการเขียนรายงานนั้น โดยในการเขียนรายงานนั้น ควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ ตรงไปตรงมา รวมทั้งจัดทำคู่มือการใช้งานซึ่งประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้

    ชื่อโครงงาน
    ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อที่จะใช้กับโครงงานนั้น
    ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อจะให้โครงงานนั้นทำงานได้อย่างสมบูรณ์
    คุณลักษณะของโครงงาน ซึ่งอธิบายว่าผลงานนั้นทำหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็น ข้อมูลขาเข้า และอะไรที่ออกมาเป็นข้อมูลขาออก
    วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคำสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทำงานในฟังก์ชันหนึ่งๆ

    3.6 การนำเสนอและแสดงโครงงาน
    การนำเสนอและแสดงโครงงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายหลังจากการพัฒนาโครงงานเสร็จเรียบร้อยตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ โดยเป็นการนำเสนอรายงานสรุปผลการดำเนินการในการจัดทำโครงงาน และโปรแกรมที่ได้พัฒนาขึ้นมาให้กับคณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้องของโครงงานนั้นๆ ซึ่งจัดเป็นขั้นตอนที่สำคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทำโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลทางความคิด ความพยายามในการทำงานที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทำให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น

  28. สโรชา ไชยทองศรี ม.6/1 เลขที่26

    1.)ตอบ โครงงานคอมพิวเตอร์หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่นๆ ในการศึกษาทดลองแก้ปัญหาต่างๆ เพื่อนำผลงานที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริง หรือเพื่อใช้สร้างสื่อเสริมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

    2.)ตอบ ประโยชน์ของโครงงานคอมพิวเตอร์
    1. สร้างความสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
    3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ
    4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
    5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
    6. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
    7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
    8. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทำผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นโครงงานเพื่อนำเสนอต่อชุมชน

    3.)ตอบ หลักเกณฑ์การทำโครงงาน
    1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3. จัดทำ เค้าโครงของโครงงาน
    4. การลงมือทำโครงงาน
    5. การเขียนรายงาน
    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  29. นางสาวกุสุมาลย์ การอรุณ เลขที่11ชั้นม.6/1

    1โครงงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทำโครงงาน เป็นต้น
    2.1 ทำให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำงาน ประสานงาน และติดต่อกับหน่วยงานต่าง ๆ พร้อมทั้งมีการวางแผนการทำงาน
    2.2ทำให้กล้าคิด กล้าแสดงออก ต่อที่ประชุมชนมากขึ้น
    2.3ทำให้รู้จักหน้าที่ และมีความรับผิดชอบมากขึ้น
    2.4ทำให้รู้จักการทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ
    2.5ทำให้รู้จักการเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี
    2.6ทำให้เกิดการพัฒนาความคิด และรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
    2.7 ทำให้รู้จักการแบ่งเวลา และการตรงต่อเวลา
    2.8 ทำให้รู้จักการแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
    9ทำให้รู้วิธีการทำงานต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการทำงาน
    2.10ทำให้เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของการเรียนวิชามนุษย์กับหลักจริยศาสตร์ เพื่อคุณภาพชีวิต

    3.
    1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ

    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล

    3. จัดทำ เค้าโครงของโครงงาน

    4. การลงมือทำโครงงาน

    5. การเขียนรายงาน

    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  30. น. ส นิรชา นาสิมมา ม 6/1

    ข้อ ๅ) หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทำโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสำคัญของการทำโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

    ข้อ 2 )
    1. ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้ใช้ประโชน์
    2. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆในการสร้างสื่ออิเล็คทรอนิกส์ สามารถนำไปใช้ในอนาคตของผู้เรียนได้
    4. ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความสามัคคีในระบบกลุ่มมากขึ้น
    5. สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและแก่ผู้อื่น 6.สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้

    ข้อ 3)
    1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ

    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล

    3. จัดทำ เค้าโครงของโครงงาน

    4. การลงมือทำโครงงาน

    5. การเขียนรายงาน

    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  31. นาย จีระศักดิ์ สดไธสง

    1. จงบอกความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
    2. นักเรียนคิดว่าการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ จะได้ประโยชน์อย่างไร
    3. นักเรียนใช้หลักเกณฑ์อะไรบ้าง ในการเลือกทำโครงงาน จงเขียนเป็นข้อ ๆ เรียงตามลำดับความสำคัญ

    ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์

    1. กิจกรรมอิสระที่ผู้เรียนสามารถเลือกศึกษาตามความสนใจ โดยใช้ทักษะประสบการณ์ ด้านคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยผู้เรียนจะต้องวางแผนดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
    2. การทำโครงงานคอมพิวเตอร์และการจัดงานแสดงโครงงานจะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรู้ ความชำนาญ และมีความมั่นใจในการนำระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองและยังมีคุณค่าอื่น ๆ อีกดังต่อไปนี้
    2.1 สร้างความสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
    2.3 เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ
    2.4 ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
    2.5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
    2.6 ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
    2.7 สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
    2.8 เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทำผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นโครงงานเพื่อนำเสนอต่อชุมชน
    การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น นักเรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะเริ่มทำโครงงาน และใช้ความรู้ดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ใหม่ในโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยในการทำโครงงานนักเรียนอาจจะมีโอกาสได้ทำความรู้จักกับความรู้ใหม่เพิ่มเติมอีกด้วย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ฐานข้อมูล (Database) และการสืบค้นข้อมูล (Information Retrieval) เป็นต้น ซึ่งจะขึ้นอยู่กับหัวข้อที่นักเรียนเลือกทำโครงงาน

    2. นักเรียนคิดว่าการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ จะได้ประโยชน์อย่างไร

    1. รู้จักการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ในการเผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้ใช้ประโยชน์
    2. ใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3. มีความรู้ใหม่ๆในการสร้างสื่ออิเลคทรอนิกส์ สามารถนำไปใช้ในอนาคตของเราได้
    4. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความสามัคคีในระบบกลุ่มมากขึ้น
    5. สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและแก่ผู้อื่น
    6. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้
    7. รู้วิธีการประกอบอาหาร
    8. รู้วิธีการและเทคนิคในการทำอาหาร
    9. เกิดความพยามในการทำงาน

    3. นักเรียนใช้หลักเกณฑ์อะไรบ้าง ในการเลือกทำโครงงาน จงเขียนเป็นข้อ ๆ เรียงตามลำดับความสำคัญ

    1.สำรวจหาปัญหาที่อยู่ใกล้ตัว ซึ่งอยู่รอบตัวเราปัญหาเกิดขึ้นจริงกับเรา หลายๆปัญหา
    2.ตรวจสอบว่าเมื่อทำโครงงานเสร็จแล้วจะเกิดประโยชน์ขึ้นกับตัวเองมากน้อยเพียงใด
    3.ตรวจสอบว่าเมื่อทำโครงงานเรียบร้อยแล้วจะมีโทษเกิดขึ้นหรือไม่
    4.และเกิดประโยชน์กับสังคมอย่างไร
    5.ดูปัญหาว่าสิ่งใดร้ายแรงหรือต้องการต้องแก้ไขก่อน
    6.คัดเลือกปัญหาที่จะทำ

  32. นางสาวกุสุมา เพชรรักษ์

    1). หมายถึง โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้ กระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทำโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสำคัญของการทำโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

    2). ตอบ
    1. ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้ใช้ประโชน์
    2. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆในการสร้างสื่ออิเล็คทรอนิกส์ สามารถนำไปใช้ในอนาคตของผู้เรียนได้
    4. ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความสามัคคีในระบบกลุ่มมากขึ้น
    5. สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและแก่ผู้อื่น 6.สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้

    3). ตอบ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ

    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล

    3. จัดทำ เค้าโครงของโครงงาน

    4. การลงมือทำโครงงาน

    5. การเขียนรายงาน

    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  33. 1.) โครงงานคอมพิวเตอร์ เป็นกิจกรรมการเรียนที่มีอิสระ ในการเลือกศึกษา โดยนักเรียนจะต้องวางแผน ดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
    2.) ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ให้แก่บุคคลอื่นได้ สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ ให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆ ในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี สามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดได้
    3.) 1.คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    2.ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมูล
    3.จัดทำเค้าโครงของโครงงาน
    4.ลงมือทำโครงงาน
    5.การเขียนรายงาน
    6.การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  34. นางสาว นิรชา สุทาดา ม.6/1

    นางสาว นิรชา สุทาดา ม.6/1 เลขที่ 21
    1) .หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจโดยจะต้องวางแผนการดำาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องโดยใช้ความรู้กระบวนการวิศวกรรม ซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาประเภทของโครงงาน
    2.) 1. ผู้เรียนที่รู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้นำไปใช้อย่างเป็นประโชน์
    2. สามารถนำคอมพิวเตอร์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพในการทำงาน
    3. ให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆในการสร้างสื่ออิเล็คทรอนิกส์ สามารถนำไปใช้ในอนาคตของผู้เรียนได้
    4. ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี และมีความสามัคคีในระบบกลุ่มในการทำงานมากขึ้น
    5. สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและแก่ผู้อื่น
    6.สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดให้แก่ตนเองได้ หรือจะนำไปเผยแพร่ให้แก่คนอื่นก็ได้
    3) 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3. จัดทำเค้าโครงของโครงงาน
    4. การลงมือทำโครงงาน
    5. การเขียนรายงาน
    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  35. นางสาวสุนิสา มาตเรียง

    1). โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตน สนใจ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้ กระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์หรือวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน
    2). การทำโครงงานคอมพิวเตอร์และการจัดงานแสดงโครงงานจะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรู้ ความชำนาญ และมีความมั่นใจในการนำระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองและยังมีคุณค่าอื่น ๆ อีกดังต่อไปนี้
    1. สร้างความสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
    3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ
    4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
    5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
    6. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
    7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
    8. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทำผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นโครงงานเพื่อนำเสนอต่อชุมชน

    3) 1คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ

    2.ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล

    3. จัดทำ เค้าโครงของโครงงาน

    4. การลงมือทำโครงงาน

    5. การเขียนรายงาน

    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  36. นางสาว วิไลวรรณ คำฌฉลียว

    ใบงานที่1
    1. จงบอกความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
    2. นักเรียนคิดว่าการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ จะได้ประโยชน์อย่างไร
    3. นักเรียนใช้หลักเกณฑ์อะไรบ้าง ในการเลือกทำโครงงาน จะเขียนเป็นข้อๆตามลำดับความสำคัญ
    1. จงบอกความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
    1.โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัยหาที่ตนสนใจโดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงานศึกษาพัฒนาโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องโดยใช้ความรู้กระบวนการวิสวกรรมของซอฟต์แวร์เครื่องคอมพิวเตอร์หรือวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน
    2. 1.ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร์ข่าวสารความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้ใช้ประโยชน์
    2.สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3.ส่งเสริมให้เรียนรู้ได้มีความรู้ใหม่ๆในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์สามารถนำไปใช้ในอนาคตของผู้เรียนได้
    4.ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดีมีความสามัคคีในระบบกลุ่มมากขึ้น
    5.สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและแก่ผู้อื่น
    6.สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้
    3. 1.เลือกหัวข้อโครงงานที่เราสนใจจะทำ
    2.วางแผนโครงงาน และเริ่มศึกษาโครงงานเรื่องที่เราได้ เก็บรวบรวมเอกสารและความรู้เรื่องที่เราได้ ก่อนลงมือทำ
    3.ลงมือดำเนินงาน
    4.ปรึกษาครู และคัดเลือกและแก้ไขงาน
    5.รายงานและนำเสนอผลงาน
    2.นักเรียนคิดว่าการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ จะมีประโยชน์อย่างไร
    1.ทำให้ได้ความรู้เกี่ยวกับการทำงานประสานงานและติดต่อกับหน่วยงานต่างๆพร้อมทั้งมีการวางแผนในการทำงาน
    2.ทำให้กล้าคิด กล้าแสดงออก ต่อที่ประชุมมากขึ้น
    3.ทำให้รู้จักหน้าที่และมีความรับผิดชอบมากขึ้น
    4.ทำให้จัดการทำงานร่วมกับกันกับหมู่คณะ
    5.รู้จักการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
    3.นักเรียนใช้หลักเกณฑ์อะไรบ้าง การเลือกทำโครงงาน จงเขียนเป็นข้อๆเรียงตามลำดับความสำคัญ
    ปัญหาที่อยู่ใกล้ตัว และเกิดขึ้นจริงในชีวิตจริง

  37. นางสาว เบญจมาศ แก่นภักดี ชั้นม.6/1 เลขที่ 6

    1.โครงงานคอมพวเตอร์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
    2.การทำโครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานจะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรู้ ความชำนาญ และมีความมั่นใจในการนำระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองและยังมีคุณค่าอื่น ๆ อีกดังต่อไปนี้
    สร้างความสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
    เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ
    ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
    กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
    ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
    สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
    เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทำผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นโครงงานเพื่อนำเสนอต่อชุมชน
    การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น นักเรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะเริ่มทำโครงงาน และใช้ความรู้ดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ใหม่ในโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยในการทำโครงงานนักเรียนอาจจะมีโอกาสได้ทำความรู้จักกับความรู้ใหม่เพิ่มเติมอีกด้วย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ ฐานข้อมูล และการสืบค้นข้อมูล เป็นต้น ซึ่งจะขึ้นอยู่กับหัวข้อที่นักเรียนเลือกทำโครงงาน
    3.ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3. จัดทำเค้าโครงของโครงงาน
    4. การลงมือทำโครงงาน
    5. การเขียนรายงาน
    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

    1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนำมาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้

    1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ
    2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
    3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ
    4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
    5. งานอดิเรกของนักเรียน
    6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์

    ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนำมาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสำคัญ ดังนี้

    1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
    2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
    3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคำปรึกษา
    4. มีเวลาเพียงพอ
    5. มีงบประมาณเพียงพอ
    6. มีความปลอดภัย

    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำเนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คำตอบว่า

    1. จะทำ อะไร
    2. ทำไมต้องทำ
    3. ต้องการให้เกิดอะไร
    4. ทำอย่างไร
    5. ใช้ทรัพยากรอะไร
    6. ทำกับใคร
    7. เสนอผลอย่างไร

    3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน

    รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ
    ชื่อโครงงาน ทำอะไร กับใคร เพื่ออะไร
    ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้
    ชื่อผู้จัดทำโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้
    ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และควบคุมการทำโครงงานของนักเรียน
    ครูที่ปรึกษาร่วม ครู-อาจารย์ผู้ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้คำแนะนำในการทำโครงงานของนัีกเรียน
    ระยะเวลาดำเนินงาน ระยะเวลาการดำเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กำหนดเป็นวัน หรือ เดือนก็ได้
    แนวคิด ที่มา และความสำคัญ สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล
    วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิต
    หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นำมาใช้ในการพัฒนาโครงงาน
    วิธีดำเนินงาน กิจกรรมหรือขั้นตอนการดำเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และผู้ัรับผิดชอบ
    ขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรมดำเนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
    ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ
    เอกสารอ้างอิง สื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นำมาใช้ในการดำเนินงาน

    4. การลงมือทำโครงงาน
    เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทำโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้

    4.1 การเตรียมการ
    การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับบันทึกการทำกิจกรรมต่างๆ ระหว่างทำโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ

    4.2 การลงมือพัฒนา
    1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทำให้ผลงานดีขึ้น
    2. จัดระบบการทำงานโดยทำส่วนที่เป็นหลักสำคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่่อยทำ ส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทำ ให้ตกลงรายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
    3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน

    4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข
    การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจำเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทำงานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทำด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย

    4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
    เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทำสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทำโครงงาน และทำการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนำ ไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนำหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ด้วย

    4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
    เมื่อทำโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สำคัญ หรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้

    5. การเขียนรายงาน
    การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้

    5.1 ส่วนนำ
    ส่วนนำ เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย
    1. ชื่อโครงงาน
    2. ชื่อผู้ทำโครงงาน
    3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
    4. คำขอบคุณ เป็นคำกล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วยทำให้โครงงานสำเร็จ
    5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสำคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดำเนินการ และผลที่ได้โดยย่อ

    5.2 บทนำ
    บทนำเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย
    1. ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
    2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
    3. ขอบเขตของโครงงาน

    5.3 หลักการและทฤษฎี
    หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนำมาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนำมาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย

    5.4 วิธีดำเนินการ
    วิธีดำเนินการ อธิบายขั้นตอนการดำเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทำงาน

    5.5 ผลการศึกษา
    ผลการศึกษา นำเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก

    5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
    สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทำ งาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนำ ผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทำโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สำคัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทำ โครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทำนองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย

    5.7 ประโยชน์
    ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนำผลงานของโครงงานไปใช้ด้วย

    5.8 บรรณานุกรม
    บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทำ โครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นำมาใช้ประโยชน์ในการทำ โครงงานนี้การเขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย

    5.9 การจัดทำคู่มือการใช้งาน
    หาโครงงานที่นักเรียนจัดทำ เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทำคู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
    1. ชื่อผลงาน
    2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้
    3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทำงานได้อย่างสมบูรณ์
    4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทำ หน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก
    5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคำสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทำงานในฟังก์ชันหนึ่งๆ

    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน
    การนำเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สำคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทำโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทำงานที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทำให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทำได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคำพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคำพูด เป็นต้น โดยผลงานที่นำมาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
    1. ชื่อโครงงาน
    2. ชื่อผู้จัดทำโครงงาน
    3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
    4. คำอธิบายถึงที่มาและความสำคัญของโครงงาน
    5. วิธีการดำเนินการที่สำคัญ
    6. การสาธิตผลงาน
    7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสำคัญที่ได้จากการทำโครงงาน

  38. นางสาวสุทธิดา นามมูลตรี

    1).ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้ กระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทำโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสำคัญของการทำโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

    2). ตอบ1. สร้างความสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
    3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ
    4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
    5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
    6. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
    7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
    8. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทำผสมผสานกับโปรแกรม

    3). ตอบ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ

    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล

    3. จัดทำ เค้าโครงของโครงงาน

    4. การลงมือทำโครงงาน

    5. การเขียนรายงาน

    6. การนำเสนอและแสดงโครงงานคอมพิวเตอร์เป็น

  39. น.ส ศิริลักษ์ ภาเจริญ ม.6/1

    น.ส ศิริลักษ์ ภาเจริญ ม.6/1 เลขที่17
    ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
    • กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจโดยจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใข้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา เช่นโครงงานเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ เป็นโครงงานที่สร้างเครื่องมือ ใช้สร้างงาน ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจำลองการทดลองของสาขาต่างๆ4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจำวัน
    • การทำโครงงานคอมพิวเตอร์ จะได้ประโยชน์

    • 1. ทำให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำงาน โครงงงาน และ พร้อมทั้งมีการวางแผนการทำงาน
    • 2. ทำให้กล้าคิด กล้าแสดงออก ต่อที่ประชุมชนมากขึ้น
    • 3. ทำให้รู้จักหน้าที่ และมีความรับผิดชอบมากขึ้น
    • 4. ทำให้รู้จักการทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ
    • 5. ทำให้รู้จักการเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี
    • 6. ทำให้เกิดการพัฒนาความคิด และรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
    • 7. ทำให้รู้จักการแบ่งเวลา และการตรงต่อเวลา
    • 8. ทำให้รู้จักการแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
    • 9. ทำให้รู้วิธีการทำงานต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการทำงาน
    • 10. ทำให้เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของการเรียนวิชามนุษย์กับหลักจริยศาสตร์ เพื่อคุณภาพชีวิต

    การใช้หลักเกณฑ์การเลือกทำโครงงาน
    การดำเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทำงาน กำหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำเนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาการทำโครงาน

  40. นัถญา ศิริเกต ชั้้นม6/1 เลขที่7

    1. หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเีรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทำโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสำคัญของการทำโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
    2. ตอบ 1. สร้างความสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
    3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ
    4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
    5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
    6. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
    7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
    8. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทำผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นโครงงานเพื่อนำเสนอต่อชุมชน
    การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น นักเรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะเริ่มทำโครงงาน และใช้ความรู้ดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ใหม่ในโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยในการทำโครงงานนักเรียนอาจจะมีโอกาสได้ทำความรู้จักกับความรู้ใหม่เพิ่มเติมอีกด้วย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ฐานข้อมูล (Database) และการสืบค้นข้อมูล (Information Retrieval) เป็นต้น ซึ่งจะขึ้นอยู่กับหัวข้อที่นักเรียนเลือกทำโครงงาน
    3. ตอบ 1 ขั้นการคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
    2 ขั้นการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3 ขั้นการจัดทำข้อเสนอโครงงาน
    4 ขั้นการลงมือทำโครงงาน
    5 ขั้นการเขียนรายงาน
    6 ขั้นการนำเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน

  41. น.ส ลัดดาวัลย์ โวหารลึก ชั้น ม.6/1 เลขที่ 15

    1.ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้ กระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทำโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสำคัญของการทำโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

    2.ประโยชน์ของโครงงานคอมพิวเตอร์
    1. ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้ใช้ประโชน์
    2. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆในการสร้างสื่ออิเล็คทรอนิกส์ สามารถ นำไปใช้ในอนาคตของผู้เรียนได้
    4. ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความสามัคคีในระบบกลุ่มมากขึ้น
    5. สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและแก่ผู้อื่น 6.สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้
    7.สร้างสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    8 ทำให้รู้จักการเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี
    9. ทำให้เกิดการพัฒนาความคิด และรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
    10. ทำให้รู้จักการแบ่งเวลา และการตรงต่อเวลา
    11. ทำให้รู้จักการแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
    12. ทำให้รู้วิธีการทำงานต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการทำงาน

    3.หลักเกณฑ์

    1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนำมาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ
    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิจะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดา เนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม
    3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
    4. การลงมือทำโครงงาน
    เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นขอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทำโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
    5. การเขียนรายงาน
    การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดา เนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงาน นักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ
    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน
    การนำเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สำคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทำโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทำงานที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเทและเป็นวิธีทำให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้นการเสนอผลงาน

  42. นางสาวกนิษฐา ภารประดิษฐ์ ม.6/1

    (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใข้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนา
    (2)โครงงานประโยชน์ที่ได้รับจากการทำโครงงาน
    1. ทำให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำงาน ประสานงาน และติดต่อกับหน่วยงานต่าง ๆ พร้อมทั้งมีการวางแผนการทำงาน
    2. ทำให้กล้าคิด กล้าแสดงออก ต่อที่ประชุมชนมากขึ้น
    3. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทำผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นโครงงานเพื่อนำเสนอต่อชุมชน
    4. ทำให้รู้จักการทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ
    5. ทำให้รู้จักการเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี
    6. ทำให้เกิดการพัฒนาความคิด และรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
    7. ทำให้รู้จักการแบ่งเวลา และการตรงต่อเวลา
    8. ทำให้รู้จักการแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
    9. ทำให้รู้วิธีการทำงานต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการทำงาน
    10. ทำให้เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของการเรียนวิชามนุษย์กับหลักจริยศาสตร์ เพื่อคุณภาพชีวิตฃ
    11. สร้างความสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    (3)
    1วางแผนงาน
    2กำหนดการทำงานตามที่วางแผนไว้
    3มีการแบ่งงานมอบหมายงานให้สมาชิกแต่ละคนทำตามความถนัด
    4ตรวจสอบการทำงานร่วมกัน
    5วิเคราะห์ปรับปรุงโดยระเอียดเรียบร้อย
    ุ6นำเสนอโครงงาน

  43. นางสาวอรอนงค์ อธิจร

    1). โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ โดยนักเรียนจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้ กระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทำโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสำคัญของการทำโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

    2). ตอบ 1. ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้ใช้ประโชน์
    2. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆในการสร้างสื่ออิเล็คทรอนิกส์ สามารถนำไปใช้ในอนาคตของผู้เรียนได้
    4. ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความสามัคคีในระบบกลุ่มมากขึ้น
    5. สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและแก่ผู้อื่น 6.สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้

    3). ตอบ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ

    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล

    3. จัดทำ เค้าโครงของโครงงาน

    4. การลงมือทำโครงงาน

    5. การเขียนรายงาน

    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

  44. นายสมรักษ์ สาระทะนงค์

    นาย สมรักษื สาระทะนงค์ ชั้นม.6/1เลขที่2
    1.ตอบ โครงงานคอมพิวเตอร์
    หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเีรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทำโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสำคัญของการทำโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
    2.ตอบ การทำโครงงานคอมพิวเตอร์และการจัดงานแสดงโครงงานจะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรู้ ความชำนาญ และมีความมั่นใจในการนำระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองและยังมีคุณค่าอื่น ๆ อีกดังต่อไปนี้
    1. สร้างความสำนึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
    2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
    3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนในห้องตามปกติ
    4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
    5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบอาชีพทางด้านนี้
    6. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
    7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
    8. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทำผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นโครงงานเพื่อนำเสนอต่อชุมชน
    การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น นักเรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะเริ่มทำโครงงาน และใช้ความรู้ดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ใหม่ในโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยในการทำโครงงานนักเรียนอาจจะมีโอกาสได้ทำความรู้จักกับความรู้ใหม่เพิ่มเติมอีกด้วย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ฐานข้อมูล (Database) และการสืบค้นข้อมูล (Information Retrieval) เป็นต้น ซึ่งจะขึ้นอยู่กับหัวข้อที่นักเรียนเลือกทำโครงงาน
    3.ตอบ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    โดยทั่วไปเรื่องที่จะนำมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนำมาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน
    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิจะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดา เนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม
    3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
    4. การลงมือทำโครงงาน
    เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นขอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทำโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
    5. การเขียนรายงาน
    การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดา เนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงาน นักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ
    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน
    การนำเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สำคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทำโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทำงานที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเทและเป็นวิธีทำให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้นการเสนอผลงานอาจทำได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคำพูดในที่ประชุมการจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคำพูด เป็นต้น

  45. นางสาวนิสชา สาบุตร

    1. หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเีรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทำโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทำโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสำคัญของการทำโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
    2. ประโยชน์ของโครงงานคอมพิวเตอร์

    1. ผู้เรียนรู้จักใช้สื่อคอมพิวเตอร์เผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้ใช้ประโชน์
    2. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมีประสิทธิภาพ
    3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ใหม่ๆในการสร้างสื่ออิเล็คทรอนิกส์ สามารถนำไปใช้ในอนาคตของผู้เรียนได้
    4. ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความสามัคคีในระบบกลุ่มมากขึ้น
    5. สามารถบริหารเวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและแก่ผู้อื่น 6.สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดได้

    3. ตอบ
    1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
    2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
    3. จัดทำ เค้าโครงของโครงงาน
    4. การลงมือทำโครงงาน
    5. การเขียนรายงาน
    6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน

ใส่ความเห็น